เฉลยการบัญชีขั้นสูง 1 บทที่ 3 การขายผ่อนชำระ
ข้อ 1-20
เมื่อวันที่
1 กันยายน 2546 กิจการแห่งหนึ่งขายสินค้าชิ้นหนึ่งราคาทุน
16,800 บาท ในราคา 24,000 บาท ตกลงให้ชำระเงินทันที
4,800 บาท ที่เหลือให้ชำระเงินเป็นงวดๆละ 1,600 บาททุกเดือนนับตั้งแต่เดือนถัดไปและจ่ายค่าใช้จ่ายต่างๆ 1,500 บาท
วันที่
1 มีนาคม 2547 กิจการขายสินค้าอีกหนึ่งชิ้นหนึ่ง
ราคาทุน 21,000 บาท ในราคา 32,000 บาท โดยยอมรับสินค้าใช้แล้วที่ผู้ซื้อนำมาแลก
ถือเป็นการชำระเงินดาวน์ในราคา 6,000 บาท
สินค้านี้ถ้าเสียค่าซ่อมประมาณ 1,200 บาท
เมื่อซ่อมแล้วจะขายได้ 6,500 บาท ซึ่งคิดกำไรขั้นต้นไว้แล้ว 20%
ของราคาขาย ที่เหลือให้ชำระเป็นงวดๆละ 2,400 บาท
ทุก 2 เดือน นับตั้งแต่วันที่ 1 พฤษภาคม
เป็นต้นไป จ่ายค่าใช้จ่ายต่างๆ 2,100 บาท
วันที่
1
มิถุนายน 2547 ลูกค้าที่ซื้อสินค้าใน ปี 2546
ไม่สามารถชำระเงินงวดที่ถึงกำหนดวันนี้ได้
กิจการจึงได้ทำการยึดสินค้าคืน ในวันที่ 5 กรกฎาคม 2547
สินค้ายึดคืนตีราคาได้ 2,200 บาท
และจ่ายค่าใช้จ่าย 2,600 บาท
กิจการใช้วิธีบัญชีตามเกณฑ์การขายผ่อนชำระ
โดยโอนกำไรขั้นต้นทุกวันสิ้นปี และปิดบัญชีประจำปี วันที่ 31
ธันวาคม
ให้ทำ รายการในสมุดรายวันทั่วไป
เพื่อบันทึกการขายผ่อนชำระข้างต้นใน ปี 2546 และ
ปี 2547
ข้อ1-20 การคำนวณส่วนเกินราคาสินค้ารับแลกเปลี่ยน
ราคาสินค้าเก่าที่ผู้ขายคิดให้
|
|
|
6,000
|
หัก ราคาตลาดของสินค้ารับแลกเปลี่ยน
|
|
|
|
ราคาสินค้าเก่าที่คาดว่าจะขายได้
|
|
6,500
|
|
หัก ค่าซ่อมแซม
|
1,200
|
|
|
กำไรขั้นต้น
(6,000*20%)
|
1,300
|
2,500
|
|
ราคาสินค้ารับแลกเปลี่ยนที่ถือเป็นการชำระเงินดาวน์
|
|
|
4,000
|
ส่วนเกินราคาสินค้ารับแลกเปลี่ยน
|
|
|
2,000
|
สมุดรายวันทั่วไป หน้า 1
พ.ศ. 2546
|
รายการ
|
เดบิต
|
เครดิต
|
ก.ย. 1
|
เงินสด
ลูกหนี้ขายผ่อนชำระ-
2546
ขายผ่อนชำระ
|
4,800
19,200
|
24,000
|
|
ต้นทุนขายผ่อนชำระ
สินค้า
|
16,800
|
16,800
|
|
กำไรขั้นต้นขายผ่อนชำระที่ยังไม่ได้รับเงิน
กำไรขั้นต้นขายผ่อนชำระรอตัดบัญชี
(24,000-16,800/24,000)*100=30%
* 24,000
|
7,200
|
7,200
|
ต.ค. 1
|
เงินสด
ลูกหนี้ขายผ่อนชำระ – 2546 งวด 1
(19,200/1,600)=12
งวด
|
1,600
|
1,600
|
พ.ย. 1
|
เงินสด
ลูกหนี้ขายผ่อนชำระ – 2546 งวด 2
|
1,600
|
1,600
|
ธ.ค. 1
|
เงินสด
ลูกหนี้ขายผ่อนชำระ – 2546 งวด 3
|
1,600
|
1,600
|
ธ.ค. 31
|
ค่าใช้จ่ายต่างๆ
เงินสด
|
1,500
|
1,500
|
|
กำไรขั้นต้นขายผ่อนชำระรอตัดบัญชี
กำไรขั้นต้นขายผ่อนชำระที่ยังไม่ได้รับเงิน
(4,800+1,600*3)*30%
|
2,880
|
2,880
|
|
ขายผ่อนชำระ
ต้นทุนขายผ่อนชำระ
กำไรขั้นต้นขายผ่อนชำระรอตัดบัญชี (7,200-2,880)
ค่าใช้จ่ายต่างๆ
กำไรขาดทุน
|
24,000
|
16,800
4,320
1,500
1,380
|
|
กำไรขาดทุน
กำไรสะสม
|
1,380
|
1,380
|
สมุดรายวันทั่วไป หน้า 2
พ.ศ. 2547
|
รายการ
|
เดบิต
|
เครดิต
|
ม.ค. 1
|
เงินสด
ลูกหนี้ขายผ่อนชำระ – 2546 งวด 4
|
1,600
|
1,600
|
ก.พ. 1
|
เงินสด
ลูกหนี้ขายผ่อนชำระ – 2546 งวด 5
|
1,600
|
1,600
|
มี.ค. 1
|
เงินสด
ลูกหนี้ขายผ่อนชำระ – 2546 งวด 6
|
1,600
|
1,600
|
|
เงินสด
ส่วนเกินราคาสินค้ารับแลกเปลี่ยน
ลูกหนี้ขายผ่อนชำระ
– 2547
ขายผ่อนชำระ
|
4,000
2,000
26,000
|
32,000
|
|
ต้นทุนขายผ่อนชำระ
สินค้า
|
21,000
|
21,000
|
|
กำไรขั้นต้นขายผ่อนชำระที่ยังไม่ได้รับเงิน
กำไรขั้นต้นขายผ่อนชำระรอตัดบัญชี
=(32,000-21,000-2,000/32,000-2,000)*100
อัตรากำไร*ขายสุทธิ = 30%*(32,000-2,000)
|
9,000
|
9,000
|
เม.ย. 1
|
เงินสด
ลูกหนี้ขายผ่อนชำระ – 2546 งวด 7
|
1,600
|
1,600
|
พ.ค. 1
|
เงินสด
ลูกหนี้ขายผ่อนชำระ – 2546 งวด 8
ลูกหนี้ขายผ่อนชำระ – 2547
งวด 1
|
4,000
|
1,600
2,400
|
ก.ค. 1
|
เงินสด
ลูกหนี้ขายผ่อนชำระ – 2547 งวด 2
|
2,400
|
2,400
|
ก.ค. 5
|
สินค้ายึดคืน
กำไรขั้นต้นขายผ่อนชำระรอตัดบัญชี
(24,000-4,800-1,600*8)*30%
ขาดทุนจากการยึดสินค้าคืน
(ผลต่าง)
ลูกหนี้ขายผ่อนชำระ - 2546
|
2,200
1,920
2,280
|
6,400
|
ก.ย. 1
|
เงินสด
ลูกหนี้ขายผ่อนชำระ – 2547 งวด 3
|
2,400
|
2,400
|
พ.ย. 1
|
เงินสด
ลูกหนี้ขายผ่อนชำระ – 2547 งวด 4
|
2,400
|
2,400
|
สมุดรายวันทั่วไป หน้า 3
พ.ศ. 2547
|
รายการ
|
เดบิต
|
เครดิต
|
ธ.ค. 31
|
ค่าใช้จ่ายต่างๆ
(2,100+2,600)
เงินสด
|
4,700
|
4,700
|
|
กำไรขั้นต้นขายผ่อนชำระรอตัดบัญชี
กำไรขั้นต้นขายผ่อนชำระปีก่อนที่ได้รับเงิน (1,600*5)*30%
กำไรขั้นต้นขายผ่อนชำระที่ยังไม่ได้รับเงิน
(4,000+2,400*4)*30%
|
6,480
|
2,400
4,080
|
|
ขายผ่อนชำระ
กำไรขั้นต้นขายผ่อนชำระปีก่อนที่ได้รับเงิน
กำไรขาดทุน
ต้นทุนขายผ่อนชำระ
กำไรขั้นต้นขายผ่อนชำระรอตัดบัญชี (9,000-4,080)
ค่าใช้จ่ายต่างๆ
ส่วนเกินราคาสินค้ารับแลกเปลี่ยน
ขาดทุนจากการยึดสินค้าคืน
|
32,000
2,400
500
|
21,000
4,920
4,700
2,000
2,280
|
|
กำไรสะสม
กำไรขาดทุน
|
500
|
500
|
ข้อ
1-21
กิจการแห่งหนึ่งขายสินค้า ราคาทุน 28,000 บาท
โดยคิดกำไรขั้นต้น 25% ของราคาทุน ตกลงให้ชำระเงิน ณ
วันทำสัญญา เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 2546 เป็นเงิน 5,000 บาท ที่เหลือให้ชำระเป็นงวดๆละ 3,000
บาท ทุกเดือน นับตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม
เป็นต้นไป
วันที่ 1 ตุลาคม 2546 ขายสินค้าผ่อนชำระอีกชิ้นหนึ่ง ราคาทุน 24,000 บาท ในราคา 33,000 บาท โดยยอมรับสินค้าใช้แล้วที่ผู้ซื้อนำมาแลก
ถือเป็นการชำระเงินดาวน์ในราคา 5,500 บาท
สินค้านี้ถ้าเสียค่าซ่อมประมาณ 875 บาท
เมื่อซ่อมแล้วจะขายได้ในราคา 4,500 บาท กิจการขายสินค้าใช้แล้ว
โดยคิดกำไรขั้นต้น 25% ของราคาขาย ที่เหลือให้ชำระเป็นงวดๆละ
2,750 บาท ทุกวันต้นเดือน นับแต่เดือนถัดไป
และเสียค่าใช้จ่ายต่างๆ 3,500 บาท
วันที่ 5 เมษายน 2547 ผู้ซื้อสินค้าชิ้นแรก
ไม่สามารถชำระเงินงวดที่ถึงกำหนด วันที่ 1 มีนาคมได้
จึงได้ยึดสินค้าคืนมา สินค้ายึดคืนตีราคาได้ 4,500 บาท
และในวันที่ 10 เมษายน 2547 กิจการได้จ่ายค่าซ่อมเป็นเงิน
800 บาท เพื่อให้อยู่ในสภาพที่ขายได้
ข้อ1-21 การคำนวณส่วนเกินราคาสินค้ารับแลกเปลี่ยน
ราคาสินค้าเก่าที่ผู้ขายคิดให้
|
|
|
5,500
|
หัก
ราคาตลาดของสินค้ารับแลกเปลี่ยน
|
|
|
|
ราคาสินค้าเก่าที่คาดว่าจะขายได้
|
|
4,500
|
|
หัก ค่าซ่อมแซม
|
875
|
|
|
กำไรขั้นต้น
(4,500*25%)
|
1,125
|
2,000
|
|
ราคาสินค้ารับแลกเปลี่ยนที่ถือเป็นการชำระเงินดาวน์
|
|
|
2,500
|
ส่วนเกินราคาสินค้ารับแลกเปลี่ยน
|
|
|
3,000
|
สมุดรายวันทั่วไป หน้า 1
พ.ศ. 2546
|
รายการ
|
เดบิต
|
เครดิต
|
ก.ค. 1
|
เงินสด
ลูกหนี้ขายผ่อนชำระ-
2546
ขายผ่อนชำระ
|
5,000
30,000
|
35,000
|
|
ต้นทุนขายผ่อนชำระ
สินค้า
|
28,000
|
28,000
|
|
กำไรขั้นต้นขายผ่อนชำระที่ยังไม่ได้รับเงิน
กำไรขั้นต้นขายผ่อนชำระรอตัดบัญชี
(35,000-28,000/35,000)*100=20%
* 35,000
|
7,000
|
7,000
|
ส.ค. 1
|
เงินสด
ลูกหนี้ขายผ่อนชำระ – 2546 งวด 1
(30,000/3,000)=10
งวด
|
3,000
|
3,000
|
ก.ย. 1
|
เงินสด
ลูกหนี้ขายผ่อนชำระ – 2546 งวด 2
|
3,000
|
3,000
|
ต.ค. 1
|
เงินสด
ลูกหนี้ขายผ่อนชำระ – 2546 งวด 3
|
3,000
|
3,000
|
|
เงินสด
ส่วนเกินราคาสินค้ารับแลกเปลี่ยน
ลูกหนี้ขายผ่อนชำระ
– 2546
(2)
ขายผ่อนชำระ
|
2,500
3,000
27,500
|
33,000
|
|
ต้นทุนขายผ่อนชำระ
สินค้า
|
24,000
|
24,000
|
|
กำไรขั้นต้นขายผ่อนชำระที่ยังไม่ได้รับเงิน
กำไรขั้นต้นขายผ่อนชำระรอตัดบัญชี
(33,000-24,000-3,000/33,000-3,000)*100
=20%*33,000-3,000
|
6,000
|
6,000
|
พ.ย. 1
|
เงินสด
ลูกหนี้ขายผ่อนชำระ – 2546 งวด 4
ลูกหนี้ขายผ่อนชำระ – 2546
(2) งวด 1
|
5,750
|
3,000
2,750
|
ธ.ค. 1
|
เงินสด
ลูกหนี้ขายผ่อนชำระ – 2546 งวด 5
ลูกหนี้ขายผ่อนชำระ – 2546
(2) งวด 2
|
5,750
|
3,000
2,750
|
สมุดรายวันทั่วไป หน้า 2
พ.ศ. 2546
|
รายการ
|
เดบิต
|
เครดิต
|
ธ.ค. 31
|
ค่าใช้จ่ายต่างๆ
เงินสด
|
3,500
|
3,500
|
|
กำไรขั้นต้นขายผ่อนชำระรอตัดบัญชี
กำไรขั้นต้นขายผ่อนชำระที่ยังไม่ได้รับเงิน
(5,000+3,000*5+2,500+2,750*2)*20%
|
5,600
|
5,600
|
|
ขายผ่อนชำระ
(35,000+33,000)
ต้นทุนขายผ่อนชำระ
กำไรขั้นต้นขายผ่อนชำระรอตัดบัญชี (13,000-5,600)
ค่าใช้จ่ายต่างๆ
ส่วนเกินราคาสินค้ารับแลกเปลี่ยน
กำไรขาดทุน
|
68,000
|
52,000
7,400
3,500
3,000
2,100
|
|
กำไรขาดทุน
กำไรสะสม
|
2,100
|
2,100
|
พ.ศ. 2547
|
รายการ
|
เดบิต
|
เครดิต
|
ม.ค. 1
|
เงินสด
ลูกหนี้ขายผ่อนชำระ – 2546 งวด 6
ลูกหนี้ขายผ่อนชำระ – 2546
(2) งวด 3
|
5,750
|
3,000
2,750
|
ก.พ. 1
|
เงินสด
ลูกหนี้ขายผ่อนชำระ – 2546 งวด 7
ลูกหนี้ขายผ่อนชำระ – 2546
(2) งวด 4
|
5,750
|
3,000
2,750
|
มี.ค. 1
|
เงินสด
ลูกหนี้ขายผ่อนชำระ – 2546 (2) งวด 5
|
2,750
|
2,750
|
เม.ย. 1
|
เงินสด
ลูกหนี้ขายผ่อนชำระ – 2546 (2) งวด 6
|
2,750
|
2,750
|
เม.ย. 5
|
สินค้ายึดคืน
กำไรขั้นต้นขายผ่อนชำระรอตัดบัญชี
(35,000-5,000-3,000*7)20%
ขาดทุนจาการยึดสินค้าคืน
ลูกหนี้ขายผ่อนชำระ – 2547
|
4,500
1,800
2,700
|
9,000
|
เม.ย. 10
|
สินค้ายึดคืน
เงินสด
|
800
|
800
|
พ.ค. 1
|
เงินสด
ลูกหนี้ขายผ่อนชำระ – 2546 (2) งวด 7
|
2,750
|
2,750
|
สมุดรายวันทั่วไป หน้า 3
พ.ศ. 2547
|
รายการ
|
เดบิต
|
เครดิต
|
มิ.ย. 1
|
เงินสด
ลูกหนี้ขายผ่อนชำระ – 2546 (2) งวด 8
|
2,750
|
2,750
|
ก.ค. 1
|
เงินสด
ลูกหนี้ขายผ่อนชำระ – 2546 (2) งวด 9
|
2,750
|
2,750
|
ส.ค. 1
|
เงินสด
ลูกหนี้ขายผ่อนชำระ – 2546 (2) งวด 10
|
2,750
|
2,750
|
ธ.ค. 31
|
กำไรขั้นต้นขายผ่อนชำระรอตัดบัญชี
กำไรขั้นต้นขายผ่อนชำระปีก่อนที่ได้รับเงิน (3,000*2)*20%
กำไรขั้นต้นขายผ่อนชำระที่ยังไม่ได้รับเงิน
(2,750*8)*20%
|
5,600
|
1,200
4,400
|
|
กำไรขั้นต้นขายผ่อนชำระปีก่อนที่ได้รับเงิน
กำไรขาดทุน
กำไรขั้นต้นขายผ่อนชำระรอตัดบัญชี (7,400-4,400)
ขาดทุนจากการยึดสินค้าคืน
|
1,200
4,500
|
3,000
2,700
|
|
กำไรสะสม
กำไรขาดทุน
|
4,500
|
4,500
|
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น