เฉลยการบัญชีขั้นสูง 1 บทที่ 2 การฝากขาย

การบัญชีชั้นสูง 1  แต่งโดย กัณทิมา สุธีดวงสมร สำนักพิมพ์แม็ค

บทที่2 การฝากขาย
ข้อ 7 ร้านอโศกส่งสินค้าไปฝากขายร้านต้นสนขายจำนวน 90,000 บาท เมื่อ 1 มิถุนายน 2553 ร้านอโศกจ่ายค่าเบี้ยประกัน 2,000 บาท และค่าขนสินค้าไปฝากขาย 1,500 บาท
2553
มิ.ย.     3 ร้านต้นสนจ่ายค่าขนสินค้าเข้าร้าน 1,800 บาท
          4 ร้านอโศกส่งเงินให้ร้านต้นสนเพื่อสำรองเป็นค่าใช้จ่ายในการฝากขาย 5.000 บาท
          6 ร้านต้นสนขายสินค้าเป็นเงินสด 10 ชิ้น ชิ้นละ 3,000 บาท
          9 ร้านต้นสนส่งสินค้าชำรุดคืน 2 ชิ้น เป็นเงิน 3,600 บาท
          13 ร้านอโศกส่งกล่องไปบรรจุสินค้าที่เหลืออยู่ในร้านขณะนั้น จำนวน 1,900 บาท
18 ร้านต้นสนขายสินค้าเป็นเงินสด 8 ชิ้น ราคาชิ้นละ 3,000 บาท และเป็นเงินเชื่อ 15 ชิ้น
     ราคาชิ้นละ 3,100 บาท
20 ร้านต้นสนจ่ายค่าขนสินค้าให้ลูกค้า 1,500 บาท และค่าหีบห่อสินค้าให้ลูกค้า 1,000 บาท
25 ร้านต้นสนรับชำระหนี้จากลูกค้า 80% ให้ส่วนลด 5%
30 ร้านต้นสนส่งรายงานการฝากขายให้ร้านอโศก พร้อมเงินสดหลังจากหักค่าใช้จ่ายต่างๆและ
     ค่านายหน้า 15 % ของราคาขาย
ให้ทำ บันทึกรายการฝากขายแยกจากการขายปกติ
          -ทางด้านผู้ฝากขาย บันทึกสินค้าแบบ Perpetual Inventory และรับรายงานแบบ Gross sales
          -ทางด้านผู้รับฝากขาย



วันที่
ด้านผู้ฝากขาย – ร้านอโศก
ด้านผู้รับฝากขาย – ร้านต้นสน
2553
มิ.ย. 1

ฝากขาย-ร้านต้นสน
     สินค้า


90,000
90,000



ฝากขาย – ร้านต้นสน
     เงินสด
ค่าเบี้ยประกัน 2,000 ค่าขนสินค้า 1,500
3,500
3,500


3


รับฝากขาย – ร้านอโศก
     เงินสด
ค่าขนสินค้า
1,800
1,800

4
ลูกหนี้ – ร้านต้นสน
     เงินสด
เงินทดรอง
5,000
5,000

เงินสด
     รับฝากขาย – ร้านอโศก
*เอาไปบวก
5,000
5,000
6


เงินสด
     รับฝากขาย – ร้านอโศก
ขายสินค้า 10 ชิ้น
30,000
30,000

9
สินค้า
     ฝากขาย – ร้านต้นสน
รับคืนสินค้า 2 ชิ้น
3,600
3,600


13
ฝากขาย – ร้านต้นสน
     เงินสด
ค่าหีบห่อ สินค้าที่เหลืออยู่ 38ชิ้น
1,900
1,900


18


เงินสด
ลูกหนี้
     รับฝากขาย – ร้านอโศก
ขายสินค้า
24,000
46,500
70,500
20


รับฝากขาย – ร้านอโศก
     เงินสด
ค่าขนสินค้าให้ลูกค้า 1,500 ค่าหีบห่อ 1,000 บาท
2,500
2,500
25


เงินสด
รับฝากขาย – ร้านอโศก
     ลูกหนี้
รับชำระหนี้ 80%

35,340
1,860
37,200
วันที่
ด้านผู้ฝากขาย – ร้านอโศก
ด้านผู้รับฝากขาย – ร้านต้นสน
30


รับฝากขาย – ร้านอโศก
     รายได้ค่านายหน้า
คิดค่านายหน้า 15% ของราคาขาย
(3,500+70,500)*15%
15,075
15,075

เงินสด
ฝากขาย-ร้านต้นสน
ลูกหนี้-ร้านต้นสน
ค่าขนสินค้าให้ลูกค้า
ค่าหีบห่อ
ส่วนลดจ่าย
ค่านายหน้า
     ขายโดยการฝากขาย
     ลูกหนี้-ร้านต้นสน
      (เงินทดรอง)

74,965
1,800
9,300
1,500
1,000
1,860
15,075
100,500
5,000
รับฝากขาย – ร้านอโศก
     เงินสด
ส่งเงินให้ผู้ฝากขาย
(100,500-1,800+5,000-2,500-1,860-15,075-9,300)

9,300 มาจากลูกหนี้อีก20%ที่เหลือ
=46,500*20%
74,965
74,965

ต้นทุนสินค้าฝากขาย(33*1,800)
ค่าใช้จ่ายในการฝากขาย
(5,300*35/50)+(1,900*23/38)
      ฝากขาย – ร้านต้นสน

59,400

4,860


64,260


ขายโดยการฝากขาย
     ต้นทุนสินค้าฝากขาย
     ค่าใช้จ่ายในการฝากขาย
     ค่าขนสินค้าให้ลูกค้า
     ค่าหีบห่อ
     ส่วนลดจ่าย
     ค่านายหน้า
     กำไรจากการฝากขาย (ผลต่าง)

100,500
59,400
4,860
1,500
1,000
1,860
15,075
16,805




ข้อ 8 บริษัท เอ จำกัดส่งสินค้าไปฝากขายร้านบีมีสินค้าที่เกี่ยวกับรายการฝากขายดังนี้
2553
ต.ค.     1 บริษัท เอ จำกัด ส่งสินค้าให้ร้านบีขายในราคา 160,000 บาท
          3 บริษัท เอ จำกัด จ่ายค่าขนสินค้าไปฝากขาย 2,000 บาท
          5 ร้านบีจ่ายค่าขนสินค้าเข้าร้าน 1,800 บาท
          10 ร้านบีขายสินค้าได้ 5 ชิ้น เป็นเงินสด ราคาชิ้นละ 6,000 บาท และจ่ายค่าขนสินค้าให้
     ลูกค้า 1,000 บาท
12 บริษัท เอ จำกัด ส่งเงินให้ร้านบีเพื่อทดรองจ่าย 8,000 บาท
15 ร้านบีส่งสินค้าชำรุดคืนบริษัท เอ จำกัด จำนวน 3 ชิ้น เป็นเงิน 12,000 บาท
20 บริษัท เอ จำกัด จ่ายค่าบรรจุหีบห่อสินค้าที่เหลือที่ร้านบี ชิ้นละ 45 บาท
25 ร้านบีขายสินค้าได้อีกเป็นเงินสด 8 ชิ้น ราคาชิ้นละ 6,000 บาท และขายเชื่อ 14 ชิ้น ราคา
ชิ้นละ 6,500 บาท และจ่ายค่าขนสินค้าให้ลูกค้า 1,800 บาท ค่าหีบห่อสินค้าให้ลูกค้า 1,200บาท
28 รับชำระหนี้จากลูกหนี้ 50,000 บาท ลดให้ 10% และตัดลูกหนี้เป็นหนี้สูญ 2,500 บาท
31 ร้านบีส่งเงินที่เหลือคืนให้บริษัท เอ จำกัด หลังจากหักค่าใช้จ่ายต่างๆและค่านายหน้า 20%ของราคาขาย
ให้ทำ    บันทึกรายการฝากขายแยกจากการขายปกติ
          -ทางด้านผู้ฝากขาย บันทึกสินค้าแบบ Periodic Inventory และรับรายงานแบบ Gross Sales
          -ทางด้านผู้รับฝากขาย
          
วันที่
ด้านผู้ฝากขาย – บริษัท เอ จำกัด
ด้านผู้รับฝากขาย – ร้านบี
2553
ต.ค. 1

ฝากขาย-ร้านบี
     สินค้าส่งไปฝากขาย


160,000
160,000


3
ฝากขาย – ร้านบี
     เงินสด
ค่าขนสินค้า 2,000
2,000
2,000


5


รับฝากขาย – บริษัท เอ จำกัด
     เงินสด
ค่าขนสินค้า
1,800
1,800

10


เงินสด
     รับฝากขาย – บริษัท เอ จำกัด
ขายสินค้า 5 ชิ้น
30,000
30,000



รับฝากขาย – บริษัท เอ จำกัด
     เงินสด
ค่าขนสินค้าให้ลูกค้า
1,000
1,000

12
ลูกหนี้ – ร้านบี
     เงินสด
เงินทดรอง
8,000
8,000
เงินสด
     รับฝากขาย – บริษัท เอ จำกัด
*เอาไปบวก
8,000
8,000
15
สินค้าส่งไปฝากขาย
     ฝากขาย – ร้านบี
รับคืนสินค้า 3 ชิ้น
12,000
12,000


20
ฝากขาย – ร้านบี
     เงินสด
ค่าหีบห่อที่เหลือ32 ชิ้น ชิ้นละ 45
1,440
1,440


25


เงินสด
ลูกหนี้
     รับฝากขาย – บริษัท เอ จำกัด
ขายสินค้า
48,000
91,000
139,000


รับฝากขาย – บริษัท เอ จำกัด     3,000
    เงินสด                                       3,000     
ค่าขนสินค้า 1,800 ค่าหีบห่อ 1,200 ให้ลูกค้า
28

เงินสด                                 45,000
รับฝากขาย – บริษัท เอ จำกัด      7,500
     ลูกหนี้                                     57,500
รับชำระหนี้ 50,000 ลดให้ 10% ตัดเป็นหนี้สูญ 2,500
( ส่วนลดจ่าย5,000+2,500 = 7,500 )
วันที่
ด้านผู้ฝากขาย – บริษัท เอ จำกัด
ด้านผู้รับฝากขาย – ร้านบี
30


รับฝากขาย – บริษัท เอ จำกัด
     รายได้ค่านายหน้า
คิดค่านายหน้า 20% ของราคาขาย
(30,000+139,000)*20%
33,800
33,800

เงินสด
ฝากขาย-ร้านบี
ลูกหนี้-ร้านบี
ค่าขนสินค้าให้ลูกค้า
ค่าหีบห่อ
ส่วนลดจ่าย
หนี้สูญ
ค่านายหน้า
     ขายโดยการฝากขาย
     ลูกหนี้-ร้านบี
      (เงินทดรอง)

91,400
1,800
38,500
2,800
1,200
5,000
2,500
33,800
169,000
8,000
รับฝากขาย – บริษัท เอ จำกัด
     เงินสด
ส่งเงินให้ผู้ฝากขาย
(169,000-1,800-1,000+8,000-3,000-7,500-33,800-38,500)

38,500 มาจากลูกหนี้ที่เหลือ
=91,000-50,000-2,500
91,400
91,400

ต้นทุนสินค้าฝากขาย(27*4,000)
ค่าใช้จ่ายในการฝากขาย
(3,800*30/40)+(1,440*22/32)
      ฝากขาย – ร้านบี

108,000

3,840


111,840



ขายโดยการฝากขาย
     ต้นทุนสินค้าฝากขาย
     ค่าใช้จ่ายในการฝากขาย
     ค่าขนสินค้าให้ลูกค้า
     ค่าหีบห่อ
     ส่วนลดจ่าย
     หนี้สูญ
     ค่านายหน้า
     กำไรจากการฝากขาย

169,000
108,000
3,840
2,800
1,200
5,000
2,500
33,800
11,860


Periodic Inventory
สินค้าส่งไปฝากขาย
     กำไรขาดทุน
(160,000-12,000)

148,000
148,000

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

เฉลยการบัญชีขั้นกลาง 2 บทที่ 1 การบันทึกบัญชีเกี่ยวกับหนี้สิน

เฉลยบัญชีห้างหุ้นส่วน บทที่ 5 การรับหุ้นส่วนใหม่

เฉลยการบัญชีขั้นกลาง 2 บทที่2 การบันทึกบัญชีของห้างหุ้นส่วน